เสาเข็มไมโครไพล์ (ไมโครไพล์, micropile) คืออะไร

ไมโครไพล์ หรือ เสาเข็มไมโครไพล์ (Micropile) คือเสาเข็มตอกขนาดเล็กมีแรงสั่นสะเทือนน้อยไม่กระทบกับโครงสร้างเดิมหรืออาคารข้างเคียงแรงสั่นสะเทือนต่ำ ใช้ตอกในพื้นที่จำกัด เช่นการต่อเติมบ้าน อาคาร และโรงงาน ควบคุมการตอกโดยทีมช่างมืออาชีพมากประสบการณ์ ควบคุมดูแลด้วยทีมงานวิศวกร เสาเข็มไมโครไพล์ รับน้ำหนักได้ตั้งแต่ 15-50 ตันต่อต้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ ลดแรงสั่นสะเทือนขณะทำการตอกและเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงพื้นที่หน้างาน เสาเข็มไมโครไพล์ที่นิยมใช้กับงานตอกเสาเข็มบ้าน อาคาร จะมีลักษณะคล้ายรูปตัวไอ มีความยาวท่อนละ 1.5 เมตร มีทั้งขนาดหน้าตัด 18×18 ซม. (ราคาถูกสุด) และ 22×22 ซม. ซึ่งทางศัพท์ช่างจะเรียกว่า เสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือถ้าเป็นเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ส่วนมากก็จะนิยมใช้ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร ซึ่งศัพท์ช่างที่นิยมกันนั้นจะเรียกได้หลายคำ อาทิเช่น เสาเข็มสปัน, สปันไมโครไพล์,เข็มสปันไมโครไพล์ เป็นต้น

spun micropile
spun micropile

ไมโครไพล์ แบบแรงเหวี่ยง

1. เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง หรือเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (spun micropile) มีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอกตรงกลางกลวง ยาวท่อนละ 1.5 เมตร ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการปั่นคอนกรีตในแบบหล่อซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูงทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูงกว่าคอนกรีตที่หล่อโดยวิธีธรรมดา จึงมีความแข็งแกร่งสูงกว่าเสาเข็มประเภทอื่นๆ และสามารถรับน้ำหนักได้มากกว่าเมื่อเทียบกับขนาดหน้าตัดที่เท่ากัน

i micropile
ไอไมโครไพล์

ไมโครไพล์ ภาคตัดขวางรูปตัวไอ

2. เสาเข็มไมโครไพล์รูปตัวไอ (i micropile) มีรูปหน้าตัดเป็นรูปตัวไอ (I) ยาวท่อนละ 1.5 เมตร ผลิตโดยการเทคอนกรีตลงในแบบเสริมด้วยโครงลวดเหล็ก Db9 mm. แล้วใช้เครื่องจี้คอนกรีต (วายจี้คอนกรีต) เพื่อเพิ่มความหนาแน่นของเนื้อคอนกรีต ข้อดีของเสาเข็มหน้าตัดตัวไออยู่ที่เส้นรอบรูปที่มากกว่าเสาเข็มเหลี่ยม ส่งผลให้เกิดแรงเสียดทานระหว่างผิวเสาเข็ม (Skin Friction) และดินได้มากกว่า จึงทำให้มีความสามารถในการรับน้ำหนักที่มากขึ้น หากติดตั้งในบริเวณที่เป็นชั้นดินตะกอน หรือดินเหนียว จึงนิยมใช้ในพื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล รวมถึงราคาที่ถูกกว่าและน้ำหนักที่น้อยกว่าเสาเข็มหน้าตัดสี่เหลี่ยม

square micropile
square micropile

ไมโครไพล์ ภาคตัดขวางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสตัน

 3. เสาเข็มไมโครไพล์ทรงสี่เหลี่ยม (square micropile) มีรูปหน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมตัน ยาวท่อนละ 1.5 เมตร ผลิตโดยการเทคอนกรีตลงในแบบแล้วใช้เครื่องจี้คอนกรีต (วายจี้คอนกรีต) เพื่อเสริมความหนาแน่นของเนื้อคอนกรีต

 เสาเข็มไมโครไพล์ (micropile) นี้จะใช้วิธีการตอกแบบพิเศษ โดยใช้ปั้นจั่นขนาดเล็กตอกลงไปและใช้วิธีการต่อเสาเข็มโดยการเชื่อมไฟฟ้าเชื่อมต่อกันไปเรื่อยๆ จนตอกไม่ลง แล้วใช้การคำนวณการรับน้ำหนักของเสาเข็ม จากขนาดหน้าตัดของเสาเข็ม ระยะยกลูกตุ้ม น้ำหนักของลูกตุ้ม ความลึกของเสาเข็มและ Blowcount มาคำนวณโดยส่วนใหญ่แล้ววิศวกรจะใช้สูตรการคำนวณแบบ Danish’s Formular ขนาดของลูกตุ้ม (Hammer) ที่ใช้ตอกเสาเข็มไมโครไพล์มีน้ำหนักไม่มาก ประมาณ 1.2 ตัน ขึ้นไป ทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือนน้อยกว่าเข็มตอกประเภทอื่น สามารถเข้าไปตอกได้ทุกสภาพพื้นที่ เหมาะกับพื้นที่คับแคบหรือมีความสูงไม่มาก เริ่มต้นที่ 2.5 เมตรขึ้นไป ตอกชิดกระจก ผนัง ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย สะอาดไม่ต้องขนดินทิ้ง ข้อดีของเสาเข็มไมโครไพล์ คลิกเพื่ออ่านต่อ

บริษัท ณรงค์ ไมโครสปัน จำกัด
โรงงานผลิตและจำหน่ายพร้อมตอกเสาเข็มไมโครไพล์ (ไมโครไพล์,micropile)

ที่อยู่

12/9 หมู่ที่ 4 ตำบลบางคูรัด
อำเภอบางบัวทอง นนทบุรี

Office

02-159-8480

FAX

02-159-8479

มือถือ

081-309-7695
086-413-3862
081-625-3675
081-755-1978

บัญชีและการเงิน

02-927-1314

พื้นที่ให้บริการ

1.เสาเข็มไมโครไพล์ ภาคใต้
2.เสาเข็มไมโครไพล์ ภาคตะวันออก
3.เสาเข็มไมโครไพล์ ภาคเหนือ
4.เสาเข็มไมโครไพล์ ภาคอีสาน
5.เสาเข็มไมโครไพล์ ภาคกลาง

line narongmicrospun
QR Code narongmicrospun

MICRO SPUN PILE SPECIFICATION COMPARISON

ข้อมูลของเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ (SPUN MICROPILE)

สปันไมโครไพล์

Diameter 200 mm.

 spunmicropile dia200
เส้นผ่านศูนย์กลาง20 เซนติเมตร
น้ำหนักปลอดภัย30 – 35 Ton
Factor Of Safety2.5
Settlement Per 10Blow1-3 mm.
ความยาวต่อท่อน1.5 m.
ความหนาของเนื้อคอนกรีต> 5.5 cm.
จำนวนเหล็ก Dowel6 เส้น 9mm.
เหล็กปลอก6mm.
เหล็กเพลท6mm. กว้าง 2 นิ้ว

Diameter 250 mm.

spunmicropile dia250
เส้นผ่านศูนย์กลาง25 เซนติเมตร
น้ำหนักปลอดภัย40 – 45 Ton
Factor Of Safety2.5
Settlement Per 10Blow1-3 mm.
ความยาวต่อท่อน1.5 m.
ความหนาของเนื้อคอนกรีต> 5.5 cm.
จำนวนเหล็ก Dowel8 เส้น 9mm.
เหล็กปลอก6mm.
เหล็กเพลท6mm. กว้าง 2 นิ้ว

Diameter 300 mm.

spunmicropile dia300
เส้นผ่านศูนย์กลาง30 เซนติเมตร
น้ำหนักปลอดภัย50 – 55 Ton
Factor Of Safety2.5
Settlement Per 10Blow1-3 mm.
ความยาวต่อท่อน1.5 m.
ความหนาของเนื้อคอนกรีต> 6.5 cm.
จำนวนเหล็ก Dowel10 เส้น 9mm.
เหล็กปลอก6mm.
เหล็กเพลท6mm. กว้าง 2 นิ้ว

Diameter 350 mm.

เส้นผ่านศูนย์กลาง35 cm.
น้ำหนักปลอดภัย55 – 60 ตัน
Factor Of Safety2.5
ระยะทรุดตัวของเสาเข็ม 10 ครั้งสุดท้าย1-3 mm.
ความยาวต่อท่อน1.5 m.
ความหนาของเนื้อคอนกรีต> 6.5 cm.
ขนาดเหล็ก Dowel Bar9 mm.
จานวนเหล็ก Dowel Bar10
ขนาดเหล็ก Spiral6 mm.

Diameter 400 mm.

เส้นผ่านศูนย์กลาง40 cm.
น้ำหนักปลอดภัย65 – 70 ตัน
Factor Of Safety2.5
ระยะทรุดตัวของเสาเข็ม 10 ครั้งสุดท้าย1-3 mm.
ความยาวต่อท่อน1.5 m.
ความหนาของเนื้อคอนกรีต> 7 cm.
ขนาดเหล็ก Dowel Bar9 mm.
จานวนเหล็ก Dowel Bar10
ขนาดเหล็ก Spiral6 mm.

I MICRO PILE SPECIFICATION COMPARISON

ตารางเปรียบเทียบการรับน้ำหนักของเสาเข็มไอไมโครไพล์

ไมโครไพล์ ภาคตัดขวางรูปตัวไอ

เสาเข็มหน้าตัดรูปตัวไอ เป็นผลิตภัณฑ์คอนกรีตสำเร็จรูป ประเภทเสาเข็มตัวไอ ผลิตจากคอนกรีตอัดแรงเสริมด้วยโครงลวดเหล็ก Db9 mm. ข้อดีของเสาเข็มหน้าตัดตัวไออยู่ที่เส้นรอบรูปที่มากกว่าเสาเข็มเหลี่ยม ส่งผลให้เกิดแรงเสียดทานระหว่างผิวเสาเข็ม (Skin Friction) และดินได้มากกว่า จึงทำให้มีความสามารถในการรับน้ำหนักที่มากขึ้น หากติดตั้งในบริเวณที่เป็นชั้นดินตะกอน หรือดินเหนียว จึงนิยมใช้ในพื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล รวมถึงราคาที่ถูกกว่าและน้ำหนักที่น้อยกว่าเสาเข็มหน้าตัดสี่เหลี่ยม

i micropile

ไมโครไพล์ i18x18 cm.

micropile i18
micropile i18
พื้นที่หน้าตัด Cross Section274.5 cm2
เส้นรอบรูป Perimeter89 cm.
Dowel Bar4 – RB 9mm.
เหล็กปลอก (Stirrup)10 – RB 6mm.
Safe Load18 – 25 ton
Factor Of Safety2.5
ความยาว/ท่อน1.5 m.
น้ำหนัก Weight/ท่อน115 Kg.

ไมโครไพล์ i26x26 cm.

micropile i26
micropile i26
พื้นที่หน้าตัด Cross Section489 cm2
เส้นรอบรูป Perimeter131 cm.
Dowel Bar6 – RB 9mm.
เหล็กปลอก (Stirrup)10 – RB 6mm.
Safe Load30 – 35 ton
Factor Of Safety2.5
ความยาว/ท่อน1.5 m.
น้ำหนัก Weight/ท่อน

ไมโครไพล์ i22x22 cm.

micropile i22
micropile i22
พื้นที่หน้าตัด Cross Section386 cm2
เส้นรอบรูป Perimeter109 cm.
Dowel Bar6 – RB 9mm.
เหล็กปลอก (Stirrup)10 – RB 6mm.
Safe Load25 – 30 ton
Factor Of Safety2.5
ความยาว/ท่อน1.5 m.
น้ำหนัก Weight/ท่อน

ไมโครไพล์ i30x30 cm.

micropile i30
micropile i30
พื้นที่หน้าตัด Cross Section660 cm2
เส้นรอบรูป Perimeter150 cm.
Dowel Bar6 – RB 9mm.
เหล็กปลอก (Stirrup)10 – RB 6mm.
Safe Load35 – 40 ton
Factor Of Safety2.5
ความยาว/ท่อน1.5 m.
น้ำหนัก Weight/ท่อน

SQUARE MICRO PILE SPECIFICATION COMPARISON

ไมโครไพล์ ภาคตัดขวางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสตัน

square-micropile
square micropile

SQUARE MICRO PILE 22x22cm.

ขนาดหน้าตัดกว้างxยาว 22×22 cm. ความยาว/ท่อน 1.5 เมตร มีความสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย 20-25 Ton/Pile  โดยมีเหล็กปลอกรัดหัวท้าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์สามารถเพิ่มต่อความยาว (ความลึก) ของเสาเข็ม square micro pile ได้ โดยการเชื่อมต่อเสาเข็ม square micro pile โดยวิธีการเชื่อมรอบเสาเข็มไมโครไพล์ เพื่อเพิ่มความลึกได้ตามต้องการ จนกระทั่งถึงชั้นดินดาน สามารถตรวจสอบกำลังการรับน้ำหนักปลอดภัย ด้วยวิธีการ Last 10 Blow Count หรือ ทดสอบด้วยวิธี Dynamic Load Test

  • ค่ากำลังอัดคอนกรีต 350 Cylinder (ทรงกระบอก) 400 Cube ทรงลูกบาศก์ ตามข้อกำหนด มอก. 397-2524
  • Spiral  มาตรฐานเหล็ก มอก. ขนาด 6 mm. ยาว 10 เมตร จำนวน 1 เส้น
  • Dowel  มาตรฐานเหล็ก มอก. ขนาด 9 mm. จำนวน 8 เส้น

สามารถสั่งผลิต Dowel ตามขนาดเหล็กที่ลูกค้าต้องการได้

โทรหาเรา

TEL : 02-159-8480

Mobile : 081-309-7695, 086-413-3962

เครื่องตอกเสาเข็ม (Piling Machine) ชนิด : ไมโครไพล์และเข็มไมโครสปันไพล์

เครื่องตอกเสาเข็ม
  • หน้ากว้าง 1.2 เมตร
  • ยาว 4.5 เมตร
  • สูง 3 เมตร
  • ตุ้มหนัก 1.2 -1.5 ตัน
  • ระบบขับเคลื่อน วินซ์และรอก
  • เครื่องยนต์ yanmar diesel 15 hp
เครื่องตอกเสาเข็ม
  • หน้ากว้าง 1.8 เมตร
  • ยาว 4.5 เมตร
  • สูง 3.5 เมตร
  • ตุ้มหนัก 1.4 -1.5 ตัน
  • ระบบขับเคลื่อน ไฮดรอลิคล้อยาง
  • เครื่องยนต์ yanmar diesel 15 hp

Video Update

ต่อเติมห้องครัว ด้วยเสาเข็มไมโครไพล์ (i micropile)
เสาเข็มไมโครไพล์ ไอ22×22 ( micropile i22x22)โครงการ : MM FOOD SERVICE ตลาดบุญเจริญ
ตอกเสาเข็มไมโครไพล์ (micropile) ปรับปรุงโรงงาน โครงการฟิวเจอร์มาร์ค สมุทรสาคร
ตอกเสาเข็ม Micropile | ไมโครไพล์ @Takahashi Metal บางกอกฟรีเทรดโซน บางพลี
ตอกเสาเข็มต่อเติมโรงงาน KERRY บางปู โดยใช้เสาเข็มไมโครไพล์ I22x22
ไมโครไพล์ต่อเติมโรงงานไทยรวมสิน (Thai Union) มหาชัย

รีวิวงานต่อเติมบ้าน อาคารสำนักงาน โรงงาน

รวมบทความที่น่าสนใจ

ทำความรู้จักเสาเข็มไมโครไพล์คืออะไร แล้วมีให้ใช้งานกี่ประเภท

ทำความรู้จักเสาเข็มไมโครไพล์คืออะไร แล้วมีให้ใช้งานกี่ประเภท

adminMay 12, 20223 min read

ทำความรู้จักเสาเข็มไมโครไพล์คืออะไร แล้วมีให้ใช้งานกี่ประเภท เมื่อต้องเลือกใช้งานเสาเข็มเพื่อสร้าง หรือต่อเติมบ้าน ปัจจุบันเรามักจะได้ยินคำแนะนำเลือกใช้ “เสาเข็มไมโครไพล์” ซึ่งต้องยอมรับว่าบางคนอาจจะยังไม่เคยรู้จักมาก่อน ดังนั้น การได้ศึกษาทำความรู้จักว่าคือเสาเข็มอะไร แล้วมีให้ใช้งานกี่ประเภทจึงไม่อาจมองข้ามได้ เพื่อการพิจารณาเลือกใช้งานที่ตอบโจทย์ เสาเข็มไมโครไพล์คืออะไร? เสาเข็มไมโครไพล์ คือเสาเข็มที่ได้นวัตกรรมทางวิศวกรรมเข้าช่วย อาศัยความแข็งแรงในการสร้างรากฐานให้กับบ้าน ป้องกันการทรุดตัว ซึ่งจะมีการใช้ปั้นจั่นพิเศษตอกเสาเข็มนี้ลงไป สิ่งที่น่าสนใจคือการที่เราสามารถเลือกใช้งานได้กับทุกสภาพพื้นที่ ตอกชิดผนัง หรือกระจกได้…

การออกแบบกำลังรับน้ำหนักของฐานรากแผ่และเสาเข็มจากการเจาะสำรวจและทดสอบดิน (โดยประมาณ)

การออกแบบกำลังรับน้ำหนักของฐานรากแผ่และเสาเข็มจากการเจาะสำรวจและทดสอบดิน (โดยประมาณ)

การออกแบบกำลังรับน้ำหนักของฐานรากแผ่จากผลการเจาะสำรวจและทดสอบดิน (โดยประมาณ)             สำหรับการออกแบบระบบฐานรากในเบื้องต้นโดยประมาณ (preliminary design) : F.S. = 3.0 โดยอาศัยผลการทดสอบที่ได้จากการทดสอบทั้งในสนามและห้องทดลอง สามารถทำได้ดังนี้ ·       สำหรับกรณีของดินเหนียว (F.S. = 2.5 – 3.0) กำลังรับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยของดิน…

หลักการเบื้องต้นในการอ่านผลการเจาะสำรวจดิน

หลักการเบื้องต้นในการอ่านผลการเจาะสำรวจดิน

นักเขียน No.1 TTAug 31, 20213 min read

1.     การพิจารณาค่าจากการทดสอบ Atterberg Limits ซึ่งการพิจารณาดังกล่าวสามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจทั้งในขั้นตอนของการออกแบบ และการควบคุมงานก่อสร้างในส่วนของระบบฐานราก เช่นจะใช้เสาเข็มระบบใด (เสาเข็มตอกหรือเสาเข็มเจาะ) ปลอกเหล็กกันดินพังควรจะฝังลึกเท่าไร จะต้องใช้ของเหลวช่วยป้องกันการพังของผนังหลุมเจาะหรือไม่ เหล่านี้เป็นต้น      – หากดินมีค่า water content (v) เข้าใกล้ค่า LL. หรือมีค่ามากกว่า…

การใช้ข้อมูลการทดสอบ SPT

การใช้ข้อมูลการทดสอบ SPT

adminAug 30, 20212 min read

ค่า SPT -N เป็นแค่เพียงดัชนีชี้วัดพฤติกรรมของดินตอบสนองต่อการตอกเท่านั้น ไม่ได้เป็นการวัดคุณสมบัติทางกลของดินโดยตรง ดังนั้นการจะนำไปใช้วิเคราะห์ทางด้านวิศวกรรมปฐพี จำเป็นจะต้องเปลี่ยนเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ได้เสียก่อน โดยอาศัยความสำพันธ์เชิงปประสบการณ์ที่มีผู้ทำไว้ก่อนแล้ว ซึ่งความสำพันธ์ที่มีอยู่นั้นส่วนใหญ่จะค่อนข้างหยาบ โดยเฉพาะความสำพันธ์ที่สร้างขึ้นโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือทดสอบรุ่นเก่าที่แตกต่างไปจากเครื่องมือทดสอบที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือถ้าได้ค่า SPT เท่ากับ 20 ครั้งต่อฟุต เมื่อต้องการแปลงค่าไปเป็น unconfined compression test จะมีค่าได้ตั้งแต่…

การทดสอบภาคสนามด้วยวิธี Standard Penetration Test (SPT)

การทดสอบภาคสนามด้วยวิธี Standard Penetration Test (SPT)

adminAug 29, 20214 min read

การทดสอบในสนามด้วยวิธี Standard Penetration Test (SPT)           การทดสอบด้วยวิธีนี้ได้พัฒนาขึ้นมาราวปี ค.ศ. 1927 ซึ่งในปัจจุบันเป็นวิธีทดสอบที่นิยมใช้กันมากที่สุดและเป็นการทดสอบที่ประหยัดที่สุดที่จะได้ข้อมูลชั้นดินมาใช้ในการออกแบบ โดย Bowles (Bowles 1996) ประมาณไว้ว่า 85 – 90 เปอร์เซ็นต์ของการออกแบบฐานรากปกติในอเมริการเหนือและอเมริการใต้ใช้ข้อมูล SPT…

วิธีการสำรวจดินเพื่อใช้ในการออกแบบฐานราก

วิธีการสำรวจดินเพื่อใช้ในการออกแบบฐานราก

adminAug 27, 20211 min read

ในการสำรวจดินเพื่อการออกแบบฐานรากนั้นสามารถกระทำได้ทั้งการเก็บตัวอย่างขึ้นมาทดสอบในห้องปฏิบัติการ และการทดสอบในสนาม ซึ่งรูปแบบการเจาะสำรวจดินแสดงดังรูปที่ 1 ข้อแตกต่างของการทดสอบทั้งสองวิธีนี้คือ วิธีการเก็บตัวอย่างจะต้องเจาะหรือขุดจนถึงระดับที่ต้องการเพื่อเก็บตัวอย่างขึ้นมา ส่วนการทดสอบในสนามนั้นไม่ต้องเก็บตัวอย่างขึ้นมาทดสอบ สำหรับรายละเอียดจะกล่าวในหัวข้อต่อไป Continue reading

ตำแหน่งของหลุมเจาะและความลึกของหลุม

ตำแหน่งของหลุมเจาะและความลึกของหลุม

adminAug 27, 20211 min read

ในการเลือกตำแหน่งของหลุมเจาะ ถ้าชั้นดินไม่สม่ำเสมอนักอาจต้องทำการเจาะสำรวจให้ใกล้เคียงกับตำแหน่งของฐานรากมากที่สุด ถ้าในขณะที่จะทำการเจาะสำรวจยังไม่มีการวางตำแหน่งโครงสร้าง ตำแหน่งของหลุมเจาะควรจะครอบคลุมบริเวณทั้งหมด จำนวนหลุมเจาะที่จะต้องเจาะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่นความสม่ำเสมอของชั้นดิน ถ้าชั้นดินสม่ำเสมอการเจาะหลุมเจาะเพียงไม่กี่หลุมก็อาจเพียงพอแล้ว แต่ถ้าชั้นดินไม่มีความสม่ำเสมออาจจะต้องเจาะหลุมเจาะมากขึ้น ปัจจัยอีกประการหนึ่งก็คือ ค่าใช้จ่ายในการเจาะเมื่อเปรีบยเทียบกับมูลค่าของโครงการ โครงการมูลค่าไม่สูงมากนัก ถ้าทำการเจาะสำรวจและทดสอบปริมาณน้อยแต่ใช้ Factor safety สูงขึ้นก็อาจประหยัดกว่า แต่ถ้าเป็นโครงการที่มีมูลค่าโครงการสูงการเจาะสำรวจและทดสอบมากขึ้นจะทำให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องมากขึ้น ซึ่งอาจทำให้ราคาของฐานรากลดลงอย่างมาก สำหรับโครงการทั่วๆ ไปในชั้นดินที่ไม่ซับซ้อนและพอจะทราบข้อมูลชั้นดินมาบ้างจะเจาะหลุมเจาะประมาณ 2…

เจาะสำรวจดิน

วัตถุประสงค์ของการเจาะสำรวจดิน

adminAug 27, 20211 min read

ในงานวิศวกรรมปฐพีสิ่งที่จำเป็นประการหนึ่งก็คือการเจาะสำรวจดิน วัตถุประสงค์ในการเจาะสำรวจดินนั้นเพื่อใช้เป็นข้อมูล เพื่อใช้เลือกชนิดของฐานราก เพื่อใช้หากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของฐานรากที่เลือกใช้ เพื่อประมาณค่าการทรุดตัวของฐานรากที่เลือกใช้ เพื่อหาค่าระดับน้ำใต้ดิน เพื่อหาแรงดันดินด้านข้างที่กระทำต่อกำแพง หรือ Abutment ใช้ช่วยเขียนข้อกำหนดในการก่อสร้างเพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้หาชนิดของดินที่เหมาะสมในงานถม และหา Degree of compaction เพื่อประเมินค่าความปลอดภัยของโครงสร้างเดิม เพื่อหาวิธีที่เหมาะสมในการแก้ไข ในกรณีที่โครงสร้างไม่มีความปลอดภัย หรืออาจมีปัญหาเนื่องจากการทรุดตัว Continue…

Our Team

ณรงค์ เปรมจิตต์
ณรงค์ เปรมจิตต์
เจริญ ทองดี
เจริญ ทองดี
จเร เปรมจิตต์
จเร เปรมจิตต์
อรัญญา อินทรมาตย์
อรัญญา อินทรมาตย์
อภิญญา ถึกอ่ำ
อภิญญา ถึกอ่ำ
ธีระ เปรมจิตต์
ธีระ เปรมจิตต์

Our Partners

บริษัท ปิ่นทองเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
บริษัท ปิ่นทองเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
บริษัท ไทยทาเคนาคาสากลก่อสร้าง จำกัด
บริษัท ไทยทาเคนาคาสากลก่อสร้าง จำกัด
บริษัท โทคุระ (ประเทศไทย) จำกัด
บริษัท โทคุระ (ประเทศไทย) จำกัด
บริษัท ช. รุ่งเลิศ กรุ๊ป จำกัด
บริษัท ช. รุ่งเลิศ กรุ๊ป จำกัด
บริษัท คาสสิน่า จำกัด
บริษัท คาสสิน่า จำกัด
บริษัท เบ็ญจมาศ จำกัด
บริษัท เบ็ญจมาศ จำกัด
บริษัท เพชรอุดม เอ็นเตอร์ไพร์ส จำกัด
บริษัท เพชรอุดม เอ็นเตอร์ไพร์ส จำกัด
บริษัท ไทยโทดะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ไทยโทดะ คอร์ปอเรชั่น จำกัด
บริษัท ไทยคาจิมา จำกัด
บริษัท ไทยคาจิมา จำกัด
บริษัท ซีรีนน์ คอนสตรัคชั่น จำกัด
บริษัท ซีรีนน์ คอนสตรัคชั่น จำกัด
บริษัท เด่นศรี 39 จำกัด
บริษัท เด่นศรี 39 จำกัด
บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด
บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด
ที-คอน เอ็นจิเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น
ที-คอน เอ็นจิเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น
บริษัท ไทย นากาโน จำกัด
บริษัท ไทย นากาโน จำกัด
บริษัท เอสดับบลิว ดีไซน์ แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด
บริษัท เอสดับบลิว ดีไซน์ แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด
บริษัท ฤทธา จำกัด
บริษัท ฤทธา จำกัด
บริษัท คริสเตียนีและนีลเส็น (ไทย) จำกัด (มหาชน)
บริษัท คริสเตียนีและนีลเส็น (ไทย) จำกัด (มหาชน)
บริษัท ไทยเซอิ (ไทยแลนด์) จํากัด
บริษัท ไทยเซอิ (ไทยแลนด์) จํากัด
บริษัท บิลดิ้งส์ พอช จำกัด
บริษัท บิลดิ้งส์ พอช จำกัด
บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
บริษัท กรณิศ ก่อสร้าง จำกัด
บริษัท กรณิศ ก่อสร้าง จำกัด
บริษัท ฮาซาม่า อันโด (ประเทศไทย) จำกัด
บริษัท ฮาซาม่า อันโด (ประเทศไทย) จำกัด
บริษัท ไทยนิชิมัตสุก่อสร้าง จำกัด
บริษัท ไทยนิชิมัตสุก่อสร้าง จำกัด
บริษัท แฮ็ช-บิลท์ จำกัด
บริษัท แฮ็ช-บิลท์ จำกัด
บริษัท เจ ดับบลิว เอส คอนสตรัคชั่น จำกัด
บริษัท เจ ดับบลิว เอส คอนสตรัคชั่น จำกัด
Scroll to top